pgcep.com

Political Game Changer (PGC) นมส. (A4).pdf 2

Political Game
Changer

(PGC Executive Program)

หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ด้านการเมืองระดับสูบสูง (บมส.)

หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ด้านการเมืองระดับสูบสูง (บมส.)

Political
Game Changer

(PGC Executive Program)

สร้างมาตรฐาน “ผู้นำระดับสูงในภาคการเมือง”

ผู้นำทั้งภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสังคม และผู้สนใจทำงทำงานการเมือง ที่ถึงพร้อมด้วยความรู้

คุณภาพ เครือข่าย และประสบการณ์ “โดยยึดมั่น

ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประบุข”

ให้สมกับเป็นตัวแทนของทุกภาคส่วน ในการทำหน้าที่ของตนได้อย่างมีเกียรติ มีความรู้

มีประสิทธิภาพ ในการเป็นผู้กำหนดนโยบายของ ประเทศไทยทั้งในฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาล

ทั้งเบื้องหน้า และเบื้องหลังได้อย่างเต็มภาคภูมิ เพื่อพัฒนาประเทศไทยอย่างยั่งยืนร่วมกัน

หลักสูตรผู้นำการ
เปลี่ยนแปลงด้านการเมือง
ระดับสูง (นมส.)

Political

Game Changer

(PGC Executive Program)

สร้างมาตรฐาน “ผู้นำระดับสูงในภาคการเมือง” ผูุ้นำทั้งภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสังคม และผู้สนใจทำงานการเมือง ที่ถึงพร้อมด้วยความรู้ คุณภาพ เครือข่าย และประสบการณ์ “โดยยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข”

ให้สมกับเป็นตัวแทนของทุกภาคส่วน ในการทำหน้าที่ของตนได้อย่างมีเกียรติ มีความรู้ มีประสิทธิภาพ ในการเป็นผู้กำหนดนโยบายของประเทศไทย ทั้งในฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาล ทั้งเบื้องหน้า และเบื้องหลังได้อย่างเต็มภาคภูมิ เพื่อพัฒนาประเทศไทยอย่างยั่งยืนร่วมกัน

สร้างมาตรฐาน “คนการเมือง” และ “ผู้นำทุกภาคส่วน”
ที่ถึงพร้อมด้วยความรู้ คุณภาพ เครือข่าย และประสบการณ์
ที่ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

สร้างมาตรฐาน “คนการเมือง” และ “ผู้นำทุกภาคส่วน” ที่ถึงพร้อมด้วยความรู้ คุณภาพ เครือข่าย และประสบการณ์ ที่ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

     ภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของไทย “นักการเมือง” ถือเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาประเทศ ด้วยเป็นทั้งผู้แทนราษฎร ที่มีอำนาจหน้าที่ ทั้งในด้านนิติบัญญัติ อำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อำนาจหน้าที่ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน มีสิทธิมีเสียงในการเลือกผู้นำมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เพื่อนำทีมบริหารและกำหนดทิศทางของประเทศร่วมกัน

     ดังนั้น “คุณภาพของนักการเมือง” ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายรัฐบาล หรือฝ่ายค้าน ถือเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งในการกำหนดอนาคตของประเทศไทยร่วมกัน อันจะมีผลต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน การเติบโต การถดถอย หรือการกำหนดขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศระยะยาว มูลนิธิควง อภัยวงศ์ มีเป้าหมายในการเผยแพร่ อุดมการณ์ เสรีประชาธิปไตยให้กับสังคมไทย รวมถึงสร้างความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคม เพื่อที่จะได้ร่วมขับเคลื่อนประเทศให้พัฒนาได้ในทิศทางเดียวกัน ทั้งภาคเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL) และ บจ.ดูเรียน คอร์ปปอเรชัน (DURIAN) ผู้นำด้านการจัดฝึกอบรมผู้บริหารระดับสูงที่มีผลงานประจักษ์ในทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ จึงร่วมกันตั้งใจพัฒนา “หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองระดับสูง (นมส.)” หรือชื่อภาษาอังกฤษ คือ “Political Game Changer (PGC Executive Program)”

     โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้สนใจทำงานการเมือง ทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลัง ได้เรียนรู้หลักการทำงานร่วมกันจากนักการเมืองชั้นนำหลากหลายพรรคการเมือง ทั้งในอดีตและปัจจุบัน พร้อมวิทยากรชั้นยอด ที่มากประสบการณ์ อับประกอบไปด้วยผู้กำหนดนโยบายตัวจริง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการเมืองและภาคประชาสังคม ตลอดจนนักธุรกิจชั้นนำ นักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิ ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ขยายกรอบความคิด เสริมมุมมอง ถอดบทเรียน ทั้งจากในประเทศไทยและนานาชาติ เพื่อเตรียมความพร้อมให้เหล่าผู้บริหารและผู้ที่สนใจเข้าร่วมหลักสูตรก้าวเข้าสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ในภาคการเมืองของประเทศไทย

     ไม่ว่าคุณจะเป็นนักการเมือง ผู้สนับสนุน ทีมงานเบื้องหลัง ผู้บริหารจัดการด้านการเมือง “หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองระดับสูง (นมส.)” คือทางลัดในการเตรียมพร้อมทำหน้าที่อันทรงเกียรตินั้นอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสนับสนุนการกำหนดนโยบายการบริหารประเทศเพื่อประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติ ทั้งในมิติของรัฐศาสตร์ กฏหมาย การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม การศึกษา และวัฒนธรรม โดยไม่จำเป็นต้องสังกัดพรรคการเมืองใดๆ เป็นการเฉพาะ เพื่อนำองค์ความรู้และประสบการณ์ที่ไปพัฒาคุณภาพของการเมืองไทยในภาพรวมร่วมกัน

    ภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของไทย “นักการเมือง” ถือเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาประเทศ ด้วยเป็นทั้งผู้แทนราษฎร ที่มีอำนาจหน้าที่ ทั้งในด้านนิติบัญญัติ อำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อำนาจหน้าที่ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน มีสิทธิมีเสียงในการเลือกผู้นำมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เพื่อนำทีมบริหารและกำหนดทิศทางของประเทศร่วมกัน

    ดังนั้น “คุณภาพของนักการเมือง” ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายรัฐบาล หรือฝ่ายค้าน ถือเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งในการกำหนดอนาคตของประเทศไทยร่วมกัน อันจะมีผลต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน การเติบโต การถดถอย หรือการกำหนดขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศระยะยาว

    มูลนิธิควง อภัยวงศ์ มีเป้าหมายในการเผยแพร่ อุดมการณ์ เสรีประชาธิปไตยให้กับสังคมไทย รวมถึงสร้างความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคม เพื่อที่จะได้ร่วมขับเคลื่อนประเทศให้พัฒนาได้ในทิศทางเดียวกัน ทั้งภาคเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL) และ บจ.ดูเรียน คอร์ปปอเรชัน (DURIAN) ผู้นำด้านการจัดฝึกอบรมผู้บริหารระดับสูงที่มีผลงานประจักษ์ในทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ จึงร่วมกันตั้งใจพัฒนา “หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองระดับสูง (นมส.)” หรือชื่อภาษาอังกฤษ คือ “Political Game Changer (PGC Executive Program)”

    โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้สนใจทำงานการเมือง ทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลัง ได้เรียนรู้หลักการทำงานร่วมกันจากนักการเมืองชั้นนำหลากหลายพรรคการเมือง ทั้งในอดีตและปัจจุบัน พร้อมวิทยากรชั้นยอด ที่มากประสบการณ์ อับประกอบไปด้วยผู้กำหนดนโยบายตัวจริง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการเมืองและภาคประชาสังคม ตลอดจนนักธุรกิจชั้นนำ นักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิ ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ขยายกรอบความคิด เสริมมุมมอง ถอดบทเรียน ทั้งจากในประเทศไทยและนานาชาติ เพื่อเตรียมความพร้อมให้เหล่าผู้บริหารและผู้ที่สนใจเข้าร่วมหลักสูตรก้าวเข้าสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ในภาคการเมืองของประเทศไทย

    ไม่ว่าคุณจะเป็นนักการเมือง ผู้สนับสนุน ทีมงานเบื้องหลัง ผู้บริหารจัดการด้านการเมือง “หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองระดับสูง (นมส.)” คือทางลัดในการเตรียมพร้อมทำหน้าที่อันทรงเกียรตินั้นอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสนับสนุนการกำหนดนโยบายการบริหารประเทศเพื่อประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติ ทั้งในมิติของรัฐศาสตร์ กฏหมาย การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม การศึกษา และวัฒนธรรม โดยไม่จำเป็นต้องสังกัดพรรคการเมืองใดๆ เป็นการเฉพาะ เพื่อนำองค์ความรู้และประสบการณ์ที่ไปพัฒาคุณภาพของการเมืองไทยในภาพรวมร่วมกัน

วัตถุประสงค์

Rectangle 4

01

สร้างการรับรู้ (Awareness) และสร้างการมีส่วนร่วม (Collaborative Networking)

และขยายผลความตั้งใจ ในการสร้าง Political Game Changer โดยมีเราเป็นจุดเริ่มต้นในการเปลี่ยนแปลง

02

สร้างกลุ่มผู้คนที่ประกอบด้วยคนหลายรุ่น ทั้งคนรุ่นใหม่ และคนรุ่นใหญ่ ที่มีความสนใจในงานด้านการเมือง และต้องการนำพาประเทศเดินไปข้างหน้า ให้ทัดเทียม นานาอารยะประเทศ

โดยยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อสร้างให้เป็น Role Model ของ Active Citizen, Policy Entrepreneurship และ Political Game Changer

03

เพื่อสร้าง “สถาบันทางการเมือง” ที่สามารถต่อยอดสู่การเป็น Platform กลางในการเรียนรู้

และพัฒนาต่อยอดทั้งในด้านการเมือง ธุรกิจ และสังคมได้ในอนาคต ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติในระยะยาว

04

พัฒนาความสนใจจาก “ผู้สนใจการเมือง”

ชี้ให้เห็นถึงประโยชน์และคุณค่าในการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยผ่าน “การทำงานด้านการเมือง” ด้วยมือของเราเองร่วมกัน ทั้งในฐานะ ทีมงานการเมือง นักการเมือง ตลอดจนบทบาทต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและการบริหารประเทศ

หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองระดับสูง (นมส.)
Political Game Changer (PGC Executive Program)

สร้างประโยชน์ต่อทุกภาคส่วน

หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองระดับสูง (นมส.) Political Game Changer (PGC Executive Program)

สร้างประโยชน์ต่อทุกภาคส่วน

หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองระดับสูง (นมส.)
Political Game Changer (PGC Executive Program)

หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองระดับสูง (นมส.) Political Game Changer (PGC Executive Program)

Content

Community

Changer

[ร่าง] วิทยากร

หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองระดัับสูง (นมส.)

flag
flag (1)
flag (2)
flag (3)
flag (4)
flag (5)
flag (6)
flag (7)
flag (8)
flag (9)
flag (10)
flag (11)
Image Placeholder

คุณอานันท์ ปันยารชุน

นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 18

Image Placeholder (1)

คุณชวน หลีกภัย

นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20

Image Placeholder (2)

คุณทักษิณ ชินวัตร

นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23

Container (1)

คุณอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 27

Image Placeholder (3)

พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา

นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29

Image Placeholder (4)

คุณเศรษฐา ทวีสิน

นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 30

Image Placeholder (9)

คุณแพทองธาร ชินวัตร

นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 31

Container (2)

คุณเฉลิมชัย ศรีอ่อน

หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์

Image Placeholder (5)

คุณพิธา ลิ้มเจริญรัตน์

ประธานที่ปรึกษา หัวหน้าพรรคก้าวไกล

[ร่าง] วิทยากร

หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองระดัับสูง (นมส.)

flag
flag (1)
flag (2)
flag (3)
flag (4)
flag (5)
flag (6)
flag (7)
flag (8)
flag (9)
flag (10)
flag (11)

Chairman and Founders

Rectangle 8

[ร่าง] วิทยากร

หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองระดับสูง (นมส.)

Rectangle 8

ร่างกำหนดการ

หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองระดับสูง (นมส.)
Political Game Changer (PGC Executive Program)

6 MODULES การเรียนรู้

Image Placeholder

พื้นฐานทางการเมืองและการปกครอง (Fundamentals of Politics and Governance)

1

ประวัติศาสตร์การเมืองไทยและโลก

เรียนรู้พัฒนาการทางการเมืองตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

2

ระบบการปกครองและการเมือง

รัฐสภา ประชาธิปไตย เผด็จการ และรูปแบบการปกครองอื่น ๆ

3

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

ความรู้เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเมือง

Image Placeholder (1)

การบริหารและการจัดการ
(Administration and Management)

1

การบริหารภาครัฐ

การจัดการทรัพยากร การบริหารงานบุคคล และการบริหารงบประมาณ

2

การวางแผนยุทธศาสตร์

การตั้งเป้าหมาย การวางแผน และการบริหารโครงการ

3

การจัดการวิกฤต

เทคนิคและวิธีการจัดการสถานการณ์วิกฤตและปัญหาที่เกิดขึ้นในทางการเมือง

Image Placeholder (2)

การสื่อสารและการสร้างภาพลักษณ์ (Communication and Image Building)

1

การสื่อสารทางการเมือง

การพูดในที่สาธารณะ การเขียนบทความและสุนทรพจน์

2

การสื่อสารกับสื่อมวลชน

เทคนิคการสัมภาษณ์ การจัดแถลงข่าว และการสื่อสารผ่านโซเชียลมีเดีย

3

การสร้างภาพลักษณ์และการตลาดทางการเมือง

เทคนิคการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและการใช้การตลาดในการสื่อสารกับประชาชน

Image Placeholder (3)

จริยธรรมและความรับผิดชอบ
(Ethics and Responsibility)

1

จริยธรรมและคุณธรรมทางการเมือง

การเป็นผู้นำที่มีคุณธรรมและยึดถือจริยธรรมในการทำงาน

2

ความรับผิดชอบต่อประชาชน

การฟังเสียงประชาชน การตอบสนองต่อความต้องการของสังคม

3

การป้องกันการทุจริต

มาตรการและวิธีการป้องกันการทุจริตในภาครัฐ

Image Placeholder (4)

การวิเคราะห์และการวิจัยทางการเมือง
(Political Analysis and Research)

1

วิธีวิทยาการวิจัยทางสังคมศาสตร์

การใช้วิธีการวิจัยในการวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเมือง

2

การวิเคราะห์ข้อมูล

เทคนิคการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจที่ถูกต้อง

3

การจัดทำรายงานและการนำเสนอ

การเขียนรายงานทางวิชาการและการนำเสนอข้อมูลให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง

Image Placeholder (5)

การฝึกปฏิบัติและการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Practical Training and Experiential Learning)

1

การฝึกงานในองค์กรการเมือง

การฝึกงานในรัฐสภา องค์กรภาครัฐ หรือองค์กรทางการเมืองต่าง ๆ

2

การศึกษาเปรียบเทียบทางการเมือง

การศึกษาระบบการเมืองของประเทศต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบและนำมาใช้ในการพัฒนาระบบการเมืองของไทย

3

กรณีศึกษาและเวิร์กช็อป

การศึกษากรณีตัวอย่างและการฝึกปฏิบัติผ่านเวิร์กช็อปเพื่อพัฒนาทักษะจริง

พื้นฐานทางการเมืองและการปกครอง
(Fundamentals of Politics and Governance)

1

ประวัติศาสตร์การเมืองไทยและโลก :

เรียนรู้พัฒนาการทางการเมืองตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

2

ระบบการปกครองและการเมือง :

รัฐสภา ประชาธิปไตย เผด็จการ และรูปแบบการปกครองอื่น ๆ

3

กฎหมายรัฐธรรมนูญ :

ความรู้เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเมือง

Image Placeholder
Image Placeholder (1)

การบริหารและการจัดการ (Administration and Management)

1

การบริหารภาครัฐ :

การจัดการทรัพยากร การบริหารงานบุคคล และการบริหารงบประมาณ

2

การวางแผนยุทธศาสตร์ :

การตั้งเป้าหมาย การวางแผน และการบริหารโครงการ

3

การจัดการวิกฤต :

เทคนิคและวิธีการจัดการสถานการณ์วิกฤตและปัญหาที่เกิดขึ้นในทางการเมือง

การสื่อสารและการสร้างภาพลักษณ์
(Communication and Image Building)

1

การสื่อสารทางการเมือง :

การพูดในที่สาธารณะ การเขียนบทความและสุนทรพจน์

2

การสื่อสารกับสื่อมวลชน :

เทคนิคการสัมภาษณ์ การจัดแถลงข่าว และการสื่อสารผ่านโซเชียลมีเดีย

3

การสร้างภาพลักษณ์และการตลาดทางการเมือง :

เทคนิคการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและการใช้การตลาดในการสื่อสารกับประชาชน

Image Placeholder (2)
Image Placeholder (3)

จริยธรรมและความรับผิดชอบ (Ethics and Responsibility)

1

จริยธรรมและคุณธรรมทางการเมือง :

การเป็นผู้นำที่มีคุณธรรมและยึดถือจริยธรรมในการทำงาน

2

ความรับผิดชอบต่อประชาชน :

การฟังเสียงประชาชน การตอบสนองต่อความต้องการของสังคม

3

การป้องกันการทุจริต :

มาตรการและวิธีการป้องกันการทุจริตในภาครัฐ

การวิเคราะห์และการวิจัยทางการเมือง
(Political Analysis and Research)

1

วิธีวิทยาการวิจัยทางสังคมศาสตร์ :

การใช้วิธีการวิจัยในการวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเมือง

2

การวิเคราะห์ข้อมูล :

เทคนิคการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจที่ถูกต้อง

3

การจัดทำรายงานและการนำเสนอ :

การเขียนรายงานทางวิชาการและการนำเสนอข้อมูลให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง

Image Placeholder (4)
Image Placeholder (5)

การฝึกปฏิบัติและการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Practical Training and Experiential Learning)

1

การฝึกงานในองค์กรการเมือง :

การฝึกงานในรัฐสภา องค์กรภาครัฐ หรือองค์กรทางการเมืองต่าง ๆ

2

การศึกษาเปรียบเทียบทางการเมือง :

การศึกษาระบบการเมืองของประเทศต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบและนำมาใช้ในการพัฒนาระบบการเมืองของไทย

3

กรณีศึกษาและเวิร์กช็อป :

การศึกษากรณีตัวอย่างและการฝึกปฏิบัติผ่านเวิร์กช็อปเพื่อพัฒนาทักษะจริง

กิจกรรมศึกษาดูงานต่างประเทศ เรียนรู้จาก “สิงคโปร์”

ต้นแบบของการเปลี่ยนผ่านประเทศภายใน 1 ชั่วอายุคน

Lee Kuan Yew School of Public

    Policy (LKYSPP) เป็นสถาบันการศึกษาด้าน นโยบายสาธารณะในสิงคโปร์ ตั้งอยู่ใน มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ (National University of Singapore, NUS) ก่อตั้งขึ้นในปี 2004 ตั้งชื่อตามนายกรัฐมนตรีคนแรกของ สิงคโปร์ นายลี กวน ยู (Lee Kuan Yew) ผู้มี บทบาทสําคัญในการพัฒนาสิงคโปร์จากประเทศ กําลังพัฒนาเป็นประเทศที่เจริญรุ่งเรือง

LKYSPP – มุ่งเน้นการพัฒนาผู้นําและนักนโยบายสาธารณะที่มีความสามารถและความรู้ในการบริหารจัดการนโยบายสาธารณะ โดยมีโปรแกรมการศึกษาต่างๆ เช่น Master in Public Policy

(MPP) – หลักสูตรปริญญาโทที่ มุ่งเน้นการเตรียมผู้นําสําหรับการทํางานในภาครัฐ และองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกําไร

Master in International Affairs (MIA) – หลักสูตรปริญญาโทที่มุ่งเน้นด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและนโยบายระหว่างประเทศ, PhD in Public Policy – หลักสูตรปริญญาเอกสําหรับผู้ที่สนใจในการวิจัยและการศึกษาด้านนโยบายสาธารณะในระดับสูง

LKYSPP ยังมีโปรแกรมการฝึกอบรมระยะ สั้นและการสัมมนาสําหรับผู้นําและผู้บริหารในภาค รัฐและภาคเอกชน เพื่อเสริมสร้างความรู้และ ทักษะในการบริหารจัดการและการกํา หนดนโยบาย อีกด้วย

– Founding Prime Minister Lee Kuan Yew 12 September 1965

lkyspp_logo 1

กิจกรรมศึกษาดูงานต่างประเทศ
เรียนรู้จาก “สิงคโปร์”

ต้นแบบของการเปลี่ยนผ่านประเทศภายใน 1 ชั่วอายุคน

Lee Kuan Yew School of Public

    Policy (LKYSPP) เป็นสถาบันการศึกษาด้าน นโยบายสาธารณะในสิงคโปร์ ตั้งอยู่ใน มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ (National University of Singapore, NUS) ก่อตั้งขึ้นในปี 2004 ตั้งชื่อตามนายกรัฐมนตรีคนแรกของ สิงคโปร์ นายลี กวน ยู (Lee Kuan Yew) ผู้มี บทบาทสําคัญในการพัฒนาสิงคโปร์จากประเทศ กําลังพัฒนาเป็นประเทศที่เจริญรุ่งเรือง

LKYSPP – มุ่งเน้นการพัฒนาผู้นําและนักนโยบายสาธารณะที่มีความสามารถและความรู้ในการบริหารจัดการนโยบายสาธารณะ โดยมีโปรแกรมการศึกษาต่างๆ เช่น Master in Public Policy

(MPP) – หลักสูตรปริญญาโทที่ มุ่งเน้นการเตรียมผู้นําสําหรับการทํางานในภาครัฐ และองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกําไร

Master in International Affairs (MIA) – หลักสูตรปริญญาโทที่มุ่งเน้นด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและนโยบายระหว่างประเทศ, PhD in Public Policy – หลักสูตรปริญญาเอกสําหรับผู้ที่สนใจในการวิจัยและการศึกษาด้านนโยบายสาธารณะในระดับสูง

LKYSPP ยังมีโปรแกรมการฝึกอบรมระยะ สั้นและการสัมมนาสําหรับผู้นําและผู้บริหารในภาค รัฐและภาคเอกชน เพื่อเสริมสร้างความรู้และ ทักษะในการบริหารจัดการและการกํา หนดนโยบาย อีกด้วย

– Founding Prime Minister Lee Kuan Yew 
12 September 1965

lkyspp_logo 1

คุณสมบัติผู้เข้าร่วมหลักสูตร

หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองระดับสูง (นมส.) Political Game Changer (PGC Executive Program

1. ผู้บริหารภาคการเมือง (ทั้งในอดีตและปัจจุบัน)

  • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
  • สมาชิกวุฒิสภา
  • คณะกรรมาธิการ
  • คณะทำงาน ที่ปรึกษาในภาคการเมือง และบุคคลที่เกี่ยวข้อง
  • สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

2. ผู้บริหารระดับสูง หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน

  • ผู้บริหารภาครัฐต้องเป็นข้าราชการระดับ 9 ขึ้นไปหรือเทียบเท่า
  • ข้าราชการทหารหรือตำรวจ ระดับพลตรี พลอากาศตรี พลเรือตรี พลตำรวจตรีขึ้นไปหรือเทียบเท่า
  • ภาคเอกชนหรือองค์กรสาธารณะ ต้องเป็นผู้บริหารระดับรองกรรมการผู้จัดการขึ้นไปหรือเทียบเท่า
  • ผู้บริหารสถาบันการศึกษา
  • สื่อมวลชน
  • ผู้นำภาคประชาชน องค์กรอิสระ และ นักการเมืองท้องถิ่น

3. ผู้ที่คณะกรรมการหลักสูตรฯ พิจารณาให้เข้าร่วมโครงการ

4. มีความพร้อมในการเข้าร่วมกิจกรรมในฐานะผู้เข้าอบรมของหลักสูตรฯ ร่วมกับผู้เข้าอบรมอื่น ๆ

5. สามารถจัดสรรเวลาเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมตามเกณฑ์ที่หลักสูตรฯ กำหนดได้อย่างครบถ้วน